บทที่ 6 การประยุกต์ใช้สารสนเทศในชีวิตประจำวัน
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEirK5rEHVIwMmP1aX8-MfjPUqAFKdguWbmZ5ba7bQbBhMxotSjhrF-PA67GQFXeN_RvU9AA0NKVFFDsuJkpmdG5hK69swtnEPqJXXvAskKhipp-zyEnXPL3Ho3eUii11S8K7iy_5cREibE/s320/pic1_01_1.jpg
1. ขอบข่ายของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgqRL1bIW9TpMbvltL7X0TZrPxjUKihnK5JJRTy4QtbhStxVeYgJ5hIlqPko9Fh7-R8j3q9haFYCjpLD_8AaVU337dMb7HSER6GQQ_nzeHTvGSQT4Qc4GDRj0kS9piFgTeWVptRiPFYqg/s400/cover.gif
1.1 ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System)
เป็นระบบที่ทำหน้าที่ใน
การปฏิบัติงานประจำ และทำการบันทึกจัดเก็บ
ประมวลผลที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน
และให้สารสนเทศสรุปเบื้องต้นของการปฏิบัติงานประจำวัน
1.2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems)
เป็นระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับกลาง
เพื่อใช้ในการวางแผน บริหารจัดการและควบคุมงาน
โดยทั่วไประบบนี้จะเชื่อมโยงข้อมูลที่อยู่ในระบบประมวลผลเข้าด้วยกัน
เพื่อสร้างสารสนเทศที่เหมาะสมและจำเป็นต่อการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ
1.3 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
เป็นระบบที่ช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจสำหรับปัญหาที่อาจมีโครงสร้างหรือขั้นตอนการหาคำตอบที่แน่นอนตายตัวเพียงบางส่วนหรือเป็นกรณีเฉพาะ
2 .หน้าที่ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiOymMWn1gSDuSzjYE3CnEhMOh06j-riPlmYj7hy-uWx9vBydJ0_vhlCQHe_MvfAciLlpOI5BIuz8o4RwmxrYU4NoL8IyGvj84DUewLy2NROTt5KWGHt-EOuCnlV_QSrfDIjbofROiXyarT/s320/%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B7%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3.jpg
- ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันอย่างรวดเร็ว
ทั้งโทรศัพท์ โทรสาร อินเตอร์เน็ต ฯลฯ
- เทคโนโลยีสารนิเทศใช้ในการจัดระบบข่าวสาร
ซึ่งผลิตออกมาแต่ละวันเป็นจำนวนมหาศาล
- ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้อย่างสะดวกไม่ว่าจะใช้กี่ครั้งก็ตาม
- ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารสนเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์
วิศวกรในด้านการคำนวณ
ตัวเลขที่ยุ่งยาก ซับซ้อน
ซึ่งไม่สามารถทำให้สำเร็จได้ด้วยมือ
- ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการเก็บ เรียกใช้และประมวลผลสารสนเทศ
- สามารถจำลองแบบระบบการวางแผนและทำนาย เพื่อทดลองผลกับสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น
- อำนวยความสะดวกใน “การเข้าถึงสารสนเทศ” (ACCESS) ดีกว่าสมัยก่อนทำให้บุคคลและองค์กร
มีทางเลือกที่ดีกว่า มีประสิทธิภาพกว่า
และสามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้ดีกว่า
- ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทางระหว่างประเทศ
3. การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.1 การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศด้านใดบ้างที่จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานจะเห็นแล้วว่า
เทคโนโลยีสารสนเทศนั้นสามารถนำไปประยุกต์ได้หลายด้าน
3.2 การวางแผนกลยุทธ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศฃ
3.3 การกำหนดมาตรฐาน
3.4 การลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.5 การจัดองค์กร
- หน่วยงานที่จะดูแลทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
- บุคลากรที่เหมาะ
- ผลตอบแทนต่อบุคลากร
3.6 การบริหารงานพัฒนาระบบ
3.7 การจัดการผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.8 การจัดการข้อมูล
3.9 การรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบ
3.10 ความสัมพันธ์กับผู้บริหาร
3.11 การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
http://learners.in.th/file/gobori/it.jpg
4.1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานสำนักงาน
4.2 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานอุตสาหกรรม
4.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานการเงนิ
และการพาณิชย์
4.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานการบริการการสื่อสาร
4.5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการสาธารณสุข
สามารถนำมาประยุกต์ได้หลาย
ด้าน
4.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กับงานด้านการฝึกอบรมและการศึกษา
5. ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social software)
http://www.9engineer.com/post_files_editor/image/Article/IT/IT_01.jpg
5.1 ความหมาย
ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม
คือซอฟต์แวร์ที่ทำให้ผู้คนสามารถนัดพบปะ เชื่อมสัมพันธ์หรือทำงาน
ร่วมกันโดยมีคอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลาง
เกิดเป็นสังคมหรือชุมชนออนไลน์
5.2 ชนิดของเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
1) เครื่องมือเพื่อการสื่อสาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
คือ เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสาร
สองฝ่ายไม่พร้อมกัน (asynchronous)
2) เครื่องมือเพื่อการสร้างการจัดการความรู้
เป็นเครื่องมือในกลุ่มที่ใช้เพื่อประโยชน์
เพื่อการจัดการความรู้
5.3 ตัวอย่างเครื่องมือทางสังคมต่างๆ
1) Blog
2) Internet
Forum
3) Wiki
4) Instant
Messaging
5) Social
network services
6) Social
guides
7) Social
bookmarking
8) Social
Citations
9)
Social Shopping Applications
10)
Internet Relay Chat
11)
Knowledge Unifying Initiator (KUI)
6. การสืบค้นสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต
http://www.thaigoodview.com/files/u76249/large_search_engine_submissions.png
6.1 ลักษณะรูปแบบการค้นหาสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต
มี 3 ลักษณะ คือ
1. การค้นแบบนามานุกรม (Directory)
2. การค้นหาแบบดรรชนี (Index) หรือคำสำคัญ (Keywords)
3. การค้นหาแบบ Metasearch
Engines
6.2 เครื่องมือประเภทใช้โปรแกรมค้นหา (Search
engines)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น